วันที่ 30 มิถุนายน 2559
ศาสตราจารย์ ดร.ศากุน บุญอิต อาจารย์ประจำสาขาวิชาบริหารการปฏิบัติการ (OM) ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาเศรษฐศาสตร์ จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2566 นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติผู้ซึ่งเป็นนักวิจัยที่ได้อุทิศตนเพื่องานวิจัยอย่างต่อเนื่อง มีจริยธรรมของนักวิจัยครบถ้วน มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ จนเป็นที่ยอมรับและยกย่องในวงวิชาการนั้น ๆ สมควรเป็นแบบอย่างแก่นักวิจัยอื่น อ่านผลงานวิจัยต่าง ๆ Date: 30 พฤศจิกายน 2565Read more
ขอแสดงความยินดีกับนักศึกษาคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีที่ได้รับรางวัลจากโครงการ Bond Academy #Season9 ▶ สัณหณัฐ ชุ่มมงคล นักศึกษาหลักสูตร 4 ปี สาขาวิชาเอกการบัญชี ▶ ธนวินท์ พิระสันต์ นักศึกษาหลักสูตร 5 ปี ควบตรี-โท สาขาวิชาการบัญชี ธุรกิจแบบบูรณาการ ▶ ชุลีพร วณิชชานนท์ นักศึกษาหลักสูตร 5 ปี ควบตรี-โท สาขาวิชาการบัญชี ธุรกิจแบบบูรณาการ ▶ สุธีรัชต์ มณฑาณี นักศึกษาหลักสูตร 4 ปีRead more
นักศึกษาภาควิชาการบัญชี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คว้ารางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 4 และรางวัลเหรียญเงิน เข้ารอบ 15 ทีม จำนวน 2 ทีม ในการแข่งขันกรณีศึกษาทางบัญชีระดับประเทศ ครั้งที่ 6 ประจำปี 2565 Thailand Accounting Case Competition 2022 จัดโดย สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ ทีม Boss baby consulting คว้ารางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 4 โดยมี ผศ.ดร.อรพรรณ ยลระบิล เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา 1.Read more
นักศึกษาคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี ได้รับรางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น/ดีมาก สาขาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2563 นายไพฑูรย์ วราเดชสถิตวงศ์ นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (หลักสูตรนานาชาติ) คว้ารางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก สาขาสังคมศาสตร์ วิทยานิพนธ์เรื่อง “Developing a Performance Measurement Framework for Logistics Service Provider” โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.รุธิร์ พนมยงค์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา นางสาวแจ่มจันทร์ คงพล นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ) ได้รับรางวัลวิทยานิพนธ์ดีมาก ระดับปริญญาโทRead more
ทุกวันนี้ เราสามารถข้ามโลกได้เพียงปลายนิ้วสัมผัส หากแต่บริษัทหรือภาคธุรกิจที่อยู่ในประเทศไทย ก่อกำเนิดด้วยคนไทย และเป็นที่รู้จักเฉพาะในประเทศไทยจำนวนไม่น้อย ที่ยังไม่สามารถก้าวข้ามออกไปสู่ตลาดสากลได้ การนำบริษัทเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจึงเป็นทางเลือกหนึ่ง ซึ่งแน่นอนว่าวัตถุประสงค์หลักคือการระดมทุน หากแต่สิ่งที่ควบคู่มาด้วยก็คือ แรงจูงใจที่ต้องการขายหุ้นให้กับชาวต่างชาติและตอกย้ำแบรนด์ในตลาดโลก แต่ก็อาจจะยังมีข้อจำกัดอยู่ คือการซื้อขายหุ้นไทยจะทำได้เพียงแค่ในตลาดซื้อขายหลัก (Main Board) เท่านั้น ที่ปรึกษาด้านกฎหมายหรือการเงินของบริษัทนั้นๆ มักจะแนะนำทางออกให้โดยเสนอวิธีการแบ่งหุ้นของตนเองโอนไปจดทะเบียนในต่างประเทศ ซึ่งมักจะอยู่ในรูปแบบบริษัทการค้านอกอาณาเขต (Offshore Company) เพื่อใช้ในการถือหุ้นแทน ทั้งนี้ การโอนหุ้นไปอยู่กับบริษัทการค้านอกอาณาเขตจะได้ประโยชน์ ได้แก่ 1. สามารถขายหุ้นให้กับทั้งคนไทยและชาวต่างชาติ โดยไม่ติดกฎเกณฑ์เรื่อง Main Board หรือ Alien Board (ตลาดซื้อขายสัดส่วนหุ้นของชาวต่างชาติ) เพราะบริษัทนั้นจะถือสถานะเป็นนิติบุคคลต่างประเทศ 2.Read more
โครงการปริญญาโททางการเงิน หลักสูตรนานาชาติ (MIF) จัดกิจกรรม MIF Special Session พิเศษเฉพาะนักศึกษา
โครงการปริญญาโท สาขาวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ จัดกิจกรรมบรรยายพิเศษ “แนะนำการใช้งานโปรแกรมจัดการรายการอ้างอิง [EndNote]” ให้กับนักศึกษา MSMIS#16 โดยได้รับเกียรติจาก คุณนัชฐภรณ์
Leave a Comment