Annual Report Academic Year 2020

ทักษะที่จำ �เป็นต่อการทำ �ธุรกิจในอนาคต เนื่องจากในปัจจุบันความรู้ (Knowledge) สามารถเข้าถึงได้ง่ายในทุกที่ทุกเวลาเพียงแค่ มีอินเทอร์ เน็ตตามที่ได้ กล่ าวมาข้ างต้ น การศึกษาด้านบริหารธุรกิจในยุคใหม่จึงไม่ได้ มุ่งเน้นไปที่การถ่ายทอดองค์ความรู้ หากแต่ เป็นการพัฒนาทักษะ (Skill) ที่จ� ำเป็นต่อ การด� ำ เนินธุรกิจ โดยการพัฒนาทักษะ ในด้านต่าง ๆ จ� ำเป็นต้องอาศัยการฝึกฝนให้ ช� ำนาญจนเกิดเป็นความเชี่ยวชาญ ซึ่งใน ขณะที่โลกของการศึกษาก� ำลังมุ่งไปสู่การเตรียม ความพร้อมของผู้เรียนเพื่อรองรับการมาถึง ของยุคดิจิทัล เช่น ทักษะในการเขียนโปรแกรม (Coding) และการพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ (AI) แต่ส� ำหรับการศึกษาด้านบริหารธุรกิจแล้ว ทักษะในเรื่องดังกล่าวอาจไม่ใช่ เรื่องหลัก ที่ผู้เรียนทุกคนต้องมี เนื่องจากผู้ที่ท� ำงาน ในสายบริหารธุรกิจไม่มีความจ� ำเป็นต้อง สามารถเขียนโปรแกรมเพื่อพัฒนาระบบหรือ แอปพลิเคชันเองได้ แต่ต้องเข้าใจในเทคโนโลยี ดิจิทัลเหล่านั้นว่าใช้งานอย่างไร และรู้ถึงลักษณะ ของข้อมูลและประโยชน์ที่จะได้รับจนสามารถ หาแนวทางในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี เหล่านั้นในการด� ำเนินธุรกิจได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพสูงสุดนั่นเอง หนึ่ ง ใ นทักษะที่มีค ว า มส� ำ คัญม า ก ส� ำหรับการด� ำเนินธุรกิจ คือ ทักษะการ แก้ปัญหา หรือ Problem Solving ซึ่ง ต้องไม่ ใช่ เป็ นนักคิดเพียงอย่ างเดียวที่รู้ “What to do” แต่ยังต้องเป็นนักปฏิบัติที่ให้ความส� ำคัญกับ “How and When to do it” โดยสามารถแปลง สิ่งที่คิดให้ออกมาเป็นรูปปฏิบัติได้ด้วย กล่าว คือ คิดแล้ วก็ต้ องสามารถลงมือปฏิบัติ ได้ด้วย ดังนั้นการเรียนด้านบริหารธุรกิจจึง ต้องเปิดโอกาสให้ผู้ เรียนได้ฝึกฝนการคิด อย่างเป็นระบบ (Systematic Thinking) คิดแบบมีตรรกะ (Logical Thinking) และ คิดในเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking) รวมถึงมีสนามฝึกซ้อมให้ผู้เรียนได้ทดลอง แก้ปัญหาทางธุรกิจด้วยตัวเองได้ ในขณะที่หุ่นยนต์ (Robot) และปัญญา ประดิษฐ์ (AI) ได้เข้ามามีอิทธิพลต่อการจ้างงาน ที่มีลักษณะเป็นกิจวัตร (Routine) หรือเป็น แบบขั้นตอน (Procedural) ความก้าวหน้าใน เทคโนโลยีดังกล่าวก็ยังไม่สามารถมาทดแทน การท� ำงานที่ต้องอาศัยสัมผัสมนุษย์ (Human Touch) ได้ ดังนั้นการเรียนการสอนด้าน บริหารธุรกิจจึงต้องมีการสอดแทรกกระบวนการ พัฒนาทักษะในการท� ำงานร่วมกับคนอื่นและ ทักษะในการสื่อสารทั้งภาษาที่ 1, 2 หรือ 3 ซึ่งแม้ว่าปัจจุบันการใช้ภาษาที่ 2 จะมีเครื่องมือ แปลภาษาช่ วยเหลือให้ สามารถสื่อสาร กันได้ง่ายขึ้น แต่การสื่อสารในภาษาเดียวกับ ผู้ที่ติดต่อธุรกิจก็ยังคงมีความส� ำคัญ เพราะ การสื่อสารเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ หากไป ติดต่อธุรกิจแล้วใช้แต่อุปกรณ์แปลภาษา การปฏิสัมพันธ์กับคู่สนทนาก็จะไม่เกิดขึ้น เท่ากับที่เราพูดเอง PAGE 27 A N N U A L R E P O R T A C A D E M I C Y E A R 2 0 2 0

RkJQdWJsaXNoZXIy ODEyMzQ3